สะเก็ดดาว เกิดขึ้นได้อย่างไร
"เงินทองบ่เลี่ยง เสี่ยงภัยบ่มี ลาภยศศักดิ์ศรี บารมีกว้างไกล"
ของสิ่งนี้ไม่ได้เกิดจากฝีมือมนุษย์ทำขึ้น จึงมีความสะอาดบริสุทธิ์มาก
สมควรเรียกว่าเป็นดาวนำโชคแก่ผู้ที่มีไว้กับตัว อีกทั้งยังสามารถ
ใช้ป้องกันคุณไสยมนต์ดำ ภูตผีปีศาจต่างๆมิให้มากล้ำกรายได้ด้วย
กำเนิดอุลกมณี(สะเก็ดดาว)
อย่างที่เรารู้ๆกันดีอยู่แล้วว่า อุลกมณี(สะเก็ดดาว)เป็นสิ่งที่มาจากนอกโลก
"เงินทองบ่เลี่ยง เสี่ยงภัยบ่มี ลาภยศศักดิ์ศรี บารมีกว้างไกล"
ของสิ่งนี้ไม่ได้เกิดจากฝีมือมนุษย์ทำขึ้น จึงมีความสะอาดบริสุทธิ์มาก
สมควรเรียกว่าเป็นดาวนำโชคแก่ผู้ที่มีไว้กับตัว อีกทั้งยังสามารถ
ใช้ป้องกันคุณไสยมนต์ดำ ภูตผีปีศาจต่างๆมิให้มากล้ำกรายได้ด้วย
กำเนิดอุลกมณี(สะเก็ดดาว)
อย่างที่เรารู้ๆกันดีอยู่แล้วว่า อุลกมณี(สะเก็ดดาว)เป็นสิ่งที่มาจากนอกโลก
ที่ตกลงมาบนโลก แต่ทุกท่านอาจยังสงสัยอยู่ว่าต้นกำเนิดของอุลกมณีนั้นเป็นมาอย่างไร ? หล่นมาบนโลกได้ยังไง ตรงนี้ขอบอกว่าคงไม่มีใครทราบถึงต้นกำเนิดได้อย่างเด่นชัด ถึงที่มาว่ามาจากดาวดวงใด ลอยมาจากจักรวาลไหน
จึงมีการสันนิษฐานกันว่า " อุลกมณี(สะเก็ดดาว)เป็นวัตถุที่บริสุทธิ์ หลุดร่วงมาจากดวงดาว ผ่านอวกาศในจักรวาลมาในลักษณะของกลุ่มก๊าซ (เหมือนดาวหางในภาพยนต์) แล้วมาแข็งตัวเมื่อสู่ชั้นบรรยากาศของโลกเรา ถูกเผาไหม้จนเป็นก้อนแข็งประดุจหินสีดำสนิท "บางท่านก็บอกว่า" เป็นก้อนหินที่หลุดล่วงมาจากดาวดวงใดดวงหนึ่งในจักรวาล ล่องลอยมาจนถึงชั้นบรรยากาศของโลก ถูกแรงดึงดูดของโลกดูดเข้ามา จึงถูกเผาไหม้สิ่งที่ห่อหุ้มหรือชั้นเปลือกออกไป
จากก้อนใหญ่ เหลือเป็นก้อนเล็กๆ และเกิดเป็นรูปทรงต่างๆ เล็กบ้าง ใหญ่บ้าง"
จากที่มีผู้สันนิษฐานดังกล่าวนั้น จะขออธิบายเพิ่มเติม คือ " อุลกมณี หรือสะเก็ดดาวนั้น เกิดจากทฤษฎีการเกิด ดวงดาวครับ
โดยดวงดาวทั้งหลายในจักรวาลนั้น ต่างก็เป็นกลุ่มก๊าซขนาดมหาศาล ที่ยึดเหนี่ยวรวมตัวกันเองด้วยแรงดึงดูดภายใน อันอยู่ในภาวะสมดุลย์กับแรงดันออก จากการเผาผลาญเชื้อเพลิงภายในแกนกลาง
เมื่อดาวดวงนั้นเกิดระเบิดออก ก็จะแตกตัวออกเป็นกลุ่มก๊าซ ที่มีพลังงานสะสมอยู่มหาศาลจะล่องลอยไปในอวกาศ ก๊าซ ซึ่งส่วนใหญ่แล้วก็คือ ก๊าซไฮโดรเจน กับก๊าซฮีเลียมอีกเล็กน้อย และฝุ่นผงละเอียดยิบ ที่มีขนาดประมาณ ๑๐๐-๑๐๐๐ นาโนเมตร
ฝุ่นเหล่านี้ บ้างก็ประกอบด้วยคาร์บอน บ้างก็เป็นสารจำพวก ซิลิเคต คือคล้ายๆกับทราย หรือบางทีก็มีน้ำแข็ง หรือโมเลกุลต่างชนิด เกาะรวมตัวกันอยู่ผสมกันหลายๆอย่าง
เมื่อถูกดึงเข้ามาเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ(ระหว่างที่ล่องลอยไปในอวกาศ) เกิดการสั่งสมอุณหภูมิ เมื่อกลุ่มก๊าซดังกล่าว ถูกแรงดึงดูดของโลกดูดเข้ามาด้วยความเร็วสูง เกิดการเสียดสีกับชั้นบรรยากาศของโลก
กลุ่มก๊าซนั้นจึงถูกลุกไหม้ด้วยพลังความร้อนที่สูงมาก
อาจกล่าวได้ว่าสูงมากกว่าความร้อนจากใจแกนกลางโลกมากนัก
ฉะนั้นกลุ่มก๊าซจึงเกิดการจับตัวกันเป็นก้อน และสะสมพลังงานไว้ในตัวมันมากมาย และตกลงบนผิวโลก"
จึงมีการสันนิษฐานกันว่า " อุลกมณี(สะเก็ดดาว)เป็นวัตถุที่บริสุทธิ์ หลุดร่วงมาจากดวงดาว ผ่านอวกาศในจักรวาลมาในลักษณะของกลุ่มก๊าซ (เหมือนดาวหางในภาพยนต์) แล้วมาแข็งตัวเมื่อสู่ชั้นบรรยากาศของโลกเรา ถูกเผาไหม้จนเป็นก้อนแข็งประดุจหินสีดำสนิท "บางท่านก็บอกว่า" เป็นก้อนหินที่หลุดล่วงมาจากดาวดวงใดดวงหนึ่งในจักรวาล ล่องลอยมาจนถึงชั้นบรรยากาศของโลก ถูกแรงดึงดูดของโลกดูดเข้ามา จึงถูกเผาไหม้สิ่งที่ห่อหุ้มหรือชั้นเปลือกออกไป
จากก้อนใหญ่ เหลือเป็นก้อนเล็กๆ และเกิดเป็นรูปทรงต่างๆ เล็กบ้าง ใหญ่บ้าง"
จากที่มีผู้สันนิษฐานดังกล่าวนั้น จะขออธิบายเพิ่มเติม คือ " อุลกมณี หรือสะเก็ดดาวนั้น เกิดจากทฤษฎีการเกิด ดวงดาวครับ
โดยดวงดาวทั้งหลายในจักรวาลนั้น ต่างก็เป็นกลุ่มก๊าซขนาดมหาศาล ที่ยึดเหนี่ยวรวมตัวกันเองด้วยแรงดึงดูดภายใน อันอยู่ในภาวะสมดุลย์กับแรงดันออก จากการเผาผลาญเชื้อเพลิงภายในแกนกลาง
เมื่อดาวดวงนั้นเกิดระเบิดออก ก็จะแตกตัวออกเป็นกลุ่มก๊าซ ที่มีพลังงานสะสมอยู่มหาศาลจะล่องลอยไปในอวกาศ ก๊าซ ซึ่งส่วนใหญ่แล้วก็คือ ก๊าซไฮโดรเจน กับก๊าซฮีเลียมอีกเล็กน้อย และฝุ่นผงละเอียดยิบ ที่มีขนาดประมาณ ๑๐๐-๑๐๐๐ นาโนเมตร
ฝุ่นเหล่านี้ บ้างก็ประกอบด้วยคาร์บอน บ้างก็เป็นสารจำพวก ซิลิเคต คือคล้ายๆกับทราย หรือบางทีก็มีน้ำแข็ง หรือโมเลกุลต่างชนิด เกาะรวมตัวกันอยู่ผสมกันหลายๆอย่าง
เมื่อถูกดึงเข้ามาเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ(ระหว่างที่ล่องลอยไปในอวกาศ) เกิดการสั่งสมอุณหภูมิ เมื่อกลุ่มก๊าซดังกล่าว ถูกแรงดึงดูดของโลกดูดเข้ามาด้วยความเร็วสูง เกิดการเสียดสีกับชั้นบรรยากาศของโลก
กลุ่มก๊าซนั้นจึงถูกลุกไหม้ด้วยพลังความร้อนที่สูงมาก
อาจกล่าวได้ว่าสูงมากกว่าความร้อนจากใจแกนกลางโลกมากนัก
ฉะนั้นกลุ่มก๊าซจึงเกิดการจับตัวกันเป็นก้อน และสะสมพลังงานไว้ในตัวมันมากมาย และตกลงบนผิวโลก"
ท่านใดต้องการธาตุกายสิทธิ์ชนิดนี้ ดูได้ที่หัวข้อ สีผึ้ง เหล็กไหลต่างดาว
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น